![]() |
กบหงอน
ข้อมูลนี้ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว
รูปภาพประกอบ |
|||||||||||||
|
ข้อมูลชื่อ view: 2140 |
||||||||||
ชื่อทั่วไป Name |
กบหงอน | |||||||||
ชื่อท้องถิ่น Local Name |
กบหอน | |||||||||
ชื่อสามัญ Common Name |
Capped Frog, Gyldenstolpe's Frog | |||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Limnonectes gyldenstolpei (Boulenger, 1916) |
|||||||||
Taxonomy | ||||||||||
Kingdom | Animalia | |||||||||
Phylum | Chordata | |||||||||
Class | Amphibia | |||||||||
Subclass | ||||||||||
Order | Anura | |||||||||
Suborder | ||||||||||
Family | Dicroglossidae | |||||||||
Subfamily | ||||||||||
Genus | Limnonectes | |||||||||
Specific epithet | gyldenstolpei | |||||||||
ลักษณะทั่วไป | ||||||||||
รูปร่างลักษณะ | มีความยาวถึง 50-60 มิลลิเมตร ตัวผู้ มีหัวใหญ่ ระหว่างตามีติ่งหนังเรียบกลมและยาวเลยตาออกมา ชายขอบด้านข้างและด้านหลังของติ่งนี้ไม่ติดกับหัว ลำตัวสีเขียวมะกอกเข้ม และมีแต้มสีน้ำตาลที่เอวแล้วจางลงมาตามขา ท้องสีเหลืองอ่อน | |||||||||
ถิ่นอาศัย | อาศัยในแหล่งน้ำที่มีพรรณพืชชายฝั่งหนาแน่น และค่อนข้างจำกัดแหล่งอาศัยในแหล่งน้ำ ระบบนิเวศน้ำไหลที่ไหลผ่านพื้นที่ป่า แต่ปรับตัวอาศัยอยู่ในอ่างเก็บน้ำหรือในแอ่งน้ำของลำห้วย คลองที่น้ำขาดตอนในฤดูแล้งที่เป็นระบบนิเวศน้ำนิ่งได้ดี พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลงไปถึงภาคตะวันออกเฉียงใต้ | |||||||||
พฤติกรรม | ผสมพันธุ์และวางไข่ในแอ่งน้ำข้างลำห้วย/คลอง เพศผู้มีพฤติกรรมเฝ้าไข่ เมื่อถูกรบกวนมักกระโดดหนีเข้าไปในพุ่มไม้มากกว่าลงน้ำ แต่ถ้ากระโดดลงน้ำ เมื่อลงไปถึงพื้นท้องน้ำจะซุกตัวนิ่งอยู่กับที่ ไม่ว่ายน้ำหนีเป็นระยะทางไกลเหมือนกบชนิดอื่น | |||||||||
เสียงร้อง | - | |||||||||
ฤดูที่พบ | ฤดูฝน | |||||||||
อื่นๆ | - | |||||||||
บันทึกเพิ่มเติม |
- | |||||||||
การใช้ประโยชน์ | อาหาร | |||||||||
ประเภท |
สะเทินน้ำสะเทินบก | |||||||||
สำรวจเจอที่ | | |||||||||
สถานภาพสัตว์ตาม พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 |
ไม่อยู่ในสถานะ | |||||||||
สถานภาพสัตว์ตามหลัก IUCN |
LC = Least Concern (มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์) | |||||||||
อัพโหลดข้อมูลภาพ |
|||||||||