![]() |
Usnea exasperata
ข้อมูลนี้ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว
รูปภาพ | |||||||||||
|
ข้อมูลชื่อ view: 1289 |
|||||||||
ชื่อทั่วไป Name |
Usnea exasperata | ||||||||
ชื่อท้องถิ่น Local Name |
|||||||||
ชื่อสามัญ Common Name |
ฝอยลม | ||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Usnea exasperata ( Mill. Arg. ) Motyka. | ||||||||
Taxonomy | |||||||||
Kingdom | Fungi | ||||||||
Division | Ascomycota | ||||||||
Class | Lecanoromycetes | ||||||||
Order | Lecanorales | ||||||||
Family | Parmeliaceae | ||||||||
Genus | Usnea | ||||||||
Specific epithet | exasperata | ||||||||
คำบรรยาย | |||||||||
ลักษณะทั่วไป | แทลลัส แบบฟรูติโคส สีเขียวอมเหลืองถึงสีน้ำตาลอมเหลือง เป็นเส้นสาย ยาว 5.0–30.0 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกกิ่งแบบสองข้างเท่ากัน การแตกกิ่งพบได้น้อย รอยแตกเป็นวงรอบแทลลัสใกล้ที่ยึดเกาะทั้งต้น แกนหลักและกิ่งแขนงแตกเป็นวงคอด ทำให้แทลลัสแบ่งเป็นส่วนคล้ายกระดูกปลาแตกร้าวทั้งตามยาวและตามขวางของแทลลัส สไปนูล พบน้อย ไฟบริล เรียวยาวไม่แตกร้าวเหมือนที่พบในกิ่ง ปุ่ม พบน้อย ปุ่มเนื้อ พบน้อย ซูโดไซฟิลเล พบตามรอยแตกของชั้นคอร์เท็กซ์ ไอซิเดีย ไม่พบ ชั้นคอร์เท็กซ์ สีใสเส้นใยราเรียงตัวอย่างหนาแน่น หนา 30.0–40.0 ไมโครเมตร ชั้นสาหร่าย มีสาหร่ายสีเขียวสกุล Trebouxia เป็นส่วนประกอบ เรียงตัวอย่างต่อเนื่อง หนา 40.0–50.0 ไมโครเมตร ชั้นเมดัลลา สีขาว แกนกลางตัน เส้นใยราเรียงตัวหนาแน่น หนา 70.0–200.0 ไมโครเมตร แกนกลางตัน สีใสถึงสีน้ำตาลอ่อน แอสโคมาตา ไม่พบ | ||||||||
รูปแบบการเจริญเติบโต | |||||||||
ฟรูติโคส | |||||||||
ส่วนเจริญพันธุ์ | |||||||||
ไอซิเดีย | |||||||||
สภาพที่อยู่อาศัย: | บนเปลือกไม้ เป็นที่โล่ง แสงส่องถึง ความชื้นปานกลาง | ||||||||
การใช้ประโยชน์: | |||||||||
สำรวจเจอที่: | | ||||||||
บันทึกเพิ่มเติม: | สารไลเคน: Constictic acid, Crptostictic acid, Stictic acid, Menegazziaic acid, Usnic acid และ Fatty acid การทดสอบสี: ผิวบนแทลลัส: K+เหลือง, C-, KC+เหลือง; เมดัลลา: K+เหลือง, C-, KC+เหลือง, PD+แดง; UV- |
||||||||
รูปภาพ | |||||||||
อัพโหลดข้อมูลภาพ |
|||||||||